MR2 ช่วงที่ 1 ชลบุรี (แหลมฉบัง)-ปราจีนบุรี (ระยะทางประมาณ 147 กิโลเมตร)

อัพเดตวันที่  28/04/2565 MR2 หนองคาย (ด่านหนองคาย)-ชลบุรี (แหลมฉบัง) ช่วงที่ 1 ชลบุรี -ปราจีนบุรี (ระยะทางประมาณ 147 กิโลเมตร) ความสำคัญของเส้นทางเป็นเส้นทางยุทธศาสตร์ ตามแนวเศรษฐกิจเหนือ-ใต้ ที่มีความสำคัญสูงในการรองรับการเดินทางของประชาชนและภาคการขนส่งสินค้า เชื่อมโยงการเดินทางและการขนส่งสินค้าระหว่างพื้นที่เศรษฐกิจภาคตะวันออกและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัดที่แนวเส้นทางพาดผ่าน  ได้แก่ ชลบุรี ฉะเชิงเทรา และปราจีนบุรี       รูปแบบและรายละเอียดแนวเส้นทาง พัฒนาเป็นทางหลวงพิเศษระหว่างเมืองร่วมกับรถไฟสายใหม่ โดยใช้แนวเส้นทางตามการออกแบบของโครงการทางหลวงพิเศษระหว่างเมืองตอนชลบุรี (ท่าเรือแหลมฉบัง)-ปราจีนบุรี (ทล.359) เริ่มต้นโครงการที่ ท่าเรือแหลมฉบัง ตำบลบางละมุง อำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี ไปสิ้นสุดโครงการที่ทางหลวงหมายเลข 359 บริเวณอำเภอบ่อทอง จังหวัดปราจีนบุรี แนวเส้นทางหนองคาย-ชลบุรี (MR2) ช่วงที่ 4 ปราจีนบุรี-ชลบุรี (แหลมฉบัง) ทางหลวงพิเศษระหว่างเมืองและระบบราง ช่วงชลบุรี (แหลมฉบัง)-นครราชสีมา จะมีช่วงที่ผ่าน พื้นที่อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่และอุทยานแห่งชาติ ทับลานมีการออกแบบให้เป็นอุโมงค์รถยนต์ จำนวน 2 แห่ง และอุโมงค์รถไฟ จำนวน …

MR2 ช่วงที่ 2 ปราจีนบุรี-นครราชสีมา (ระยะทางประมาณ 166 กิโลเมตร)

อัพเดตวันที่  28/04/2565 MR2 หนองคาย (ด่านหนองคาย)-ชลบุรี (แหลมฉบัง) ช่วงที่ 2 ปราจีนบุรี-นครราชสีมา (ระยะทางประมาณ 166 กิโลเมตร) ความสำคัญของเส้นทางเป็นเส้นทางยุทธศาสตร์ ตามแนวเศรษฐกิจเหนือ-ใต้ ที่มีความสำคัญสูงในการรองรับการเดินทางของประชาชนและภาคการขนส่งสินค้า เชื่อมโยงการเดินทางและการขนส่งสินค้าระหว่างพื้นที่เศรษฐกิจภาคตะวันออกและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัดที่แนวเส้นทางพาดผ่าน  ได้แก่ ปราจีนบุรี และนครราชสีมา จ.นครราชสีมา :        อ.โนนสูง อ.เฉลิมพระเกียรติ อ.เมืองนครราชสีมา อ.โชคชัย อ.ปักธงชัย และ อ.วังน้ำเขียว จ.ปราจีนบุรี :           อ.นาดี และ อ.กบินทร์บุรี จุดเริ่มต้นโครงการ :  บริเวณจุดตัดกับทางหลวงพิเศษระหว่างเมืองและระบบรางสายกาญจนบุรี-อุบลราชธานี (MR5) ต.โตนด อ.โนนสูง จ.นครราชสีมา           จุดสิ้นสุดโครงการ :   อ.กบินทร์บุรี จ.ปราจีนบุรี รูปแบบและรายละเอียดแนวเส้นทาง  พัฒนาเป็นทางหลวงพิเศษระหว่างเมืองร่วมกับรถไฟสายใหม่ โดยเป็นแนวใหม่ทั้งคู่ …

MR2 ช่วงที่ 3 นครราชสีมา-ขอนแก่น (ระยะทางประมาณ 156 กิโลเมตร)

อัพเดตวันที่  28/04/2565 MR2 หนองคาย (ด่านหนองคาย)-ชลบุรี (แหลมฉบัง) ช่วงที่ 3 นครราชสีมา-ขอนแก่น (ระยะทางประมาณ 156 กิโลเมตร) ความสำคัญของเส้นทางแนวเส้นทางสามารถเชื่อมต่อการเดินทางระหว่างภาคตะวันเฉียงเหนือตอนบนและภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่างอย่างเป็นระบบ ลดปัญหาการจราจรบนทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2 ช่วยส่งเสริมเศรษฐกิจในชุมชนที่อยู่ในพื้นที่ และรองรับการขนส่งในหลายรูปแบบ จังหวัดที่แนวเส้นทางพาดผ่าน  ได้แก่ นครราชสีมา มหาสารคาม และขอนแก่น จ.ขอนแก่น :    อ.บ้านไผ่ อ.โนนศิลา อ.พล และ อ.หนองสองห้อง จ.นครราชสีมา:  อ.ประทาย อ.บัวลาย อ.บัวใหญ่ อ.สีดา อ.คง อ.เมืองนครราชสีมา อ.โนนสูง อ.โนนไทย และ อ.ขามทะเลสอ จุดเริ่มต้นโครงการ :    อ.บ้านไผ่ จ.ขอนแก่นจุดสิ้นสุดโครงการ :     อ.ขามทะเลสอ จ.นครราชสีมา รูปแบบและรายละเอียดแนวเส้นทาง  ช่วงจุดเริ่มต้นบริเวณส่วนต่อขยายจากทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง บางปะอิน-นครราชสีมา ในพื้นที่ ตำบลขามทะเลสอ …

MR2 ช่วงที่ 4 ขอนแก่น-หนองคาย (ด่านหนองคาย) (ระยะทางประมาณ 216 กิโลเมตร)

MR2 กรุงเทพฯ/ชลบุรี (แหลมฉบัง)-หนองคาย (ด่านหนองคาย) ช่วงที่ 4 ขอนแก่น-หนองคาย (ด่านหนองคาย) (ระยะทางประมาณ 216 กิโลเมตร) ความสำคัญของเส้นทางสามารถเชื่อมการเดินทางภายในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนและเชื่อมต่อกับด่านหนองคาย ซึ่งเป็นหนึ่งในด่านการค้าชายแดนที่สำคัญของประเทศ โดยการพัฒนาแนวเส้นทางนี้จะช่วยเพิ่มโอกาสในด้านการค้าการลงทุนระหว่างไทยกับ สปป.ลาว จังหวัดที่แนวเส้นทางพาดผ่าน ได้แก่ หนองคาย อุดรธานี กาฬสินธุ์ มหาสารคาม และขอนแก่น รูปแบบและรายละเอียดแนวเส้นทาง พัฒนาเป็นทางหลวงพิเศษระหว่างเมืองตลอดเส้นทาง โดยแยกออกจากเส้นทางรถไฟสายปัจจุบัน เริ่มต้นแนวเส้นทางบริเวณอำเภอบ้านไผ่ จังหวัดขอนแก่น และไปสิ้นสุดบริเวณด่านหนองคาย อำเภอเมืองหนองคาย จังหวัดหนองคาย  แนวเส้นทางหนองคาย-ชลบุรี (MR2) ช่วงที่ 4 ขอนแก่น-หนองคาย (ด่านหนองคาย)