MR1 ช่วงที่ 5 ลำปาง-พะเยา (ระยะทางประมาณ 99 กิโลเมตร)

อัพเดตวันที่  21/07/2566 MR 1 เชียงราย-นราธิวาส ช่วงที่ 5 ลำปาง-พะเยา (ระยะทาง 100 กม.) ความสำคัญของเส้นทางแนวเส้นทางแยกออกมาจากเส้น MR1-4 พิษณุโลก-เชียงใหม่ แนวเส้นทางจะช่วยลดระยะเวลาในการเดินทาง และเพิ่มความสะดวกสบายในการเดินทางและขนส่งจากศูนย์กลางกรุงเทพมหานครมายังภาคเหนือ รูปแบบการพัฒนาช่วง MR1-5 จะมุ่งขึ้นเหนือ เพื่อไปเชื่อมต่อกับแนวเส้นทาง MR1 เชียงราย-นราธิวาส ช่วงเชียงใหม่-เชียงราย บริเวณ อ.งาว จ.ลำปาง และเชื่อมต่อไปยัง อ.เมืองพะเยา จ.พะเยา ต่อไป รายละเอียดแนวเส้นทาง จุดเริ่มต้นโครงการ : อ.เมืองพิษณุโลก จ.พิษณุโลกจุดสิ้นสุดโครงการ : อ.งาว จ.ลำปางระยะทางรวมประมาณ 100 กิโลเมตรแนวเส้นทางผ่านพื้นที่ 1 จังหวัด 3 อำเภอ ได้แก่   –  จ.ลำปาง 4 อำเภอ : อ.แม่ทะ  อ.แม่เมาะ และ อ.งาว แนวเส้นทางโครงการแนวเส้นทาง MR1-5 …

MR1 ช่วงที่ 14 สงขลา-นราธิวาส (ระยะทางประมาณ 249 กิโลเมตร)

อัพเดตวันที่  21/07/2566 MR1 เชียงราย-นราธิวาส ช่วงที่ 14 สงขลา-นราธิวาส (ระยะทาง 218 กม.) ความสำคัญของเส้นทางเชื่อมต่อพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้กับเมืองเศรษฐกิจหลักของภาคใต้ และเป็นเส้นทางที่เชื่อมโยงระหว่างพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้ (SEC) กับเขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดน (SEZ) นราธิวาส อีกทั้ง แนวเส้นทางสามารถเชื่อมต่อกับโครงข่ายทางบกกับประเทศมาเลเซีย บริเวณพรมแดนติดต่อกับรัฐกลันตัน ตามทางหลวงเอเชียเส้นทาง AH3 และทางรถไฟช่วงรันเตาปันยัง-ปาเซร์มัส(ปัจจุบัน ไม่มีการเดินรถระหว่างประเทศ) เส้นทางนี้จะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพของโครงข่ายคมนาคมในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ รูปแบบการพัฒนาแนวเส้นทางพัฒนาเป็นมอเตอร์เวย์ โดยใช้เขตทางร่วมกับรถไฟปัจจุบัน  ทั้งนี้ ในอนาคตหากมาเลเซียมีการพัฒนาโครงการทางรถไฟ The East Coast Rail Link (ECRL) ซึ่งเป็นรถไฟขนาดทางมาตรฐานจาก Port Klang มายังเมืองโกตาบารู รัฐกลันตัน อาจพิจารณาพัฒนาโครงข่ายทางรถไฟขนาดทางมาตรฐานจากหาดใหญ่ไปเชื่อมต่อกับเส้นทาง ECRL รายละเอียดแนวเส้นทางจุดเริ่มต้นโครงการ : อ.รัตภูมิ จ.สงขลาจุดสิ้นสุดโครงการ :  อ.สุไหงโก-ลก จ.นราธิวาสระยะทางรวมประมาณ 249 กิโลเมตรแนวเส้นทางผ่านพื้นที่ 4 จังหวัด 16 อำเภอ ได้แก่  …

MR1 ช่วงที่ 8 นครปฐม-สุพรรณบุรี (ระยะทางประมาณ 73 กิโลเมตร)

อัพเดตวันที่  21/07/2566 MR1 เชียงราย-นราธิวาส ช่วงที่ 8 นครปฐม-สุพรรณบุรี (ระยะทาง 70 กม.) ความสำคัญของเส้นทางเส้นทางช่วงนี้สามารถเชื่อมต่อการเดินทางระหว่างพื้นที่ภาคเหนือ ภาคกลางและภาคใต้ และเป็นส่วนหนึ่งของถนนวงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานครซึ่งจะช่วยกระจายการจราจร และลดปริมาณการจราจรผ่านพื้นที่ไม่ให้เข้าไปแออัดในพื้นที่ชั้นในของกรุงเทพมหานครและปริมณฑล รูปแบบการพัฒนาพัฒนาเป็นมอเตอร์เวย์ร่วมกับรถไฟสายใหม่ ตลอดแนวเส้นทาง รายละเอียดแนวเส้นทาง จุดเริ่มต้นโครงการ : อ.นครชัยศรี จ.นครปฐมจุดสิ้นสุดโครงการ :  อ.เมืองสุพรรณบุรี จ.สุพรรณบุรีระยะทางรวมประมาณ 70 กิโลเมตรแนวเส้นทางผ่านพื้นที่ 2 จังหวัด 5 อำเภอ ได้แก่   –  จ.นครปฐม 2 อำเภอ : อ.บางเลน และ อ.นครชัยศรี   –  จ.สุพรรณบุรี 3 อำเภอ : อ.เมืองสุพรรณบุรี อ.บางปลาม้า และ อ.สองพี่น้อง แนวเส้นทางโครงการจุดเริ่มต้นที่จังหวัดนครปฐม อำเภอนครชัยศรี บริเวณจุดตัดถนนกับโครงการทางหลวงพิเศษระหว่างเมืองสายบางใหญ่-กาญจนบุรี (M81) ซึ่งเชื่อมต่อไปยังโครงการทางหลวงพิเศษระหว่างเมืองแนวเส้นทาง กาญจนบุรี (ด่านพุน้ำร้อน)-สระแก้วได้ แนวเส้นทางมุ่งหน้าไปทางทิศเหนือตัดผ่านถนนทางหลวงหมายเลข …

MR1 ช่วงที่ 13 สงขลา-สะเดา (ระยะทางประมาณ 69 กิโลเมตร)

อัพเดตวันที่  21/07/2566 MR1 เชียงราย-นราธิวาส ช่วงที่ 13 สงขลา-สะเดา (ระยะทาง 69 กม.) ความสำคัญของเส้นทางทำหน้าที่เป็นเส้นทางสาขาที่แยกออกจากแนวแกนกระดูกหลัก (M8 หรือ MR1) บริเวณ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา ซึ่งเป็นเมืองเศรษฐกิจหลักของภาคใต้ โดยด้านเหนือเชื่อมโยงไปยังอำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา บรรจบกับทางหลวงหมายเลข 414 สามารถใช้เป็นเส้นทางเชื่อมไปยังท่าเรือน้ำลึกสงขลา ส่วนทางด้านใต้เชื่อมโยงไปยังประตูการค้าชายแดนไทย-มาเลเซีย ที่ด่านสะเดา อ.สะเดา จ.สงขลา เชื่อมต่อกับ รัฐเกดาห์ของมาเลเซีย มอเตอร์เวย์ช่วงนี้เป็นเส้นทางที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์การพัฒนาเขตเศรษฐกิจ โดยเป็นส่วนของเส้นทางที่เชื่อมโยงระหว่างพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้ (SEC) กับเขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดน (SEZ) สงขลา รูปแบบการพัฒนาพัฒนาเป็นมอเตอร์เวย์แยกออกจากทางรถไฟตลอดแนว โดยใช้แนวเส้นทางตามการออกแบบของโครงการทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง สายสงขลา-ชายแดนไทย/มาเลเซีย (ด่านสะเดา) รายละเอียดแนวเส้นทางจุดเริ่มต้นโครงการ : อ.บางกล่ำ จ.สงขลาจุดสิ้นสุดโครงการ :  อ.สะเดา จ.สงขลาระยะทางรวมประมาณ 69 กิโลเมตร (มีแนวเส้นทางเชื่อมเข้า-ออกสนามบินหาดใหญ่ (Spur Line) ระยะทาง 7.86กิโลเมตร)แนวเส้นทางผ่านพื้นที่ 1 จังหวัด …

MR1 ช่วงที่ 12 สุราษฎร์ธานี-สงขลา (ระยะทางประมาณ 229 กิโลเมตร)

อัพเดตวันที่  21/07/2566 MR1 เชียงราย-นราธิวาส ช่วงที่ 12 สุราษฎร์ธานี-สงขลา (ระยะทาง 254 กม.) ความสำคัญของเส้นทางแนวเส้นทางเชื่อมโยงการจราจรสู่ภาคใต้ตอนล่าง และพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้ (SEC) กับเมืองหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รวมทั้งเป็นเส้นทางที่จะเชื่อมต่อไปถึงประตูการค้าระหว่างประเทศที่ชายแดนไทย-มาเลเซีย ช่วยส่งเสริมการขนส่งสินค้าผ่านท่าเรือน้ำลึกสงขลาซึ่งเป็นท่าเรือขนส่งสินค้าระหว่างประเทศหลักของภาคใต้ตอนล่าง ช่วงนี้จะช่วยเพิ่มความคล่องตัวในการคมนาคมขนส่งและแบ่งเบาการจราจรบนทางหลวงหมายเลข 4 และ 41 รูปแบบการพัฒนาแนวเส้นทางพัฒนาเป็นมอเตอร์เวย์ร่วมกับรถไฟความเร็วสูง ทั้งนี้ เสนอให้โครงการรถไฟความเร็วสูงสายใต้ปรับแนวเส้นทางและการออกแบบเพื่อให้บูรณาการการใช้เขตทางร่วมกับมอเตอร์เวย์ รายละเอียดแนวเส้นทางจุดเริ่มต้นโครงการ : อ.เคียนซา จ.สุราษฎร์ธานีจุดสิ้นสุดโครงการ :  อ.รัตภูมิ จ.สงขลาระยะทางรวมประมาณ 229 กิโลเมตรแนวเส้นทางผ่านพื้นที่ 4 จังหวัด 19 อำเภอ ได้แก่   – จ.สุราษฎร์ธานี 3 อำเภอ : อ.เคียนซา อ.พระแสง และ อ.เวียงสระ   – จ.นครศรีธรรมราช 5 อำเภอ : อ.ถ้ำพรรณรา อ.ทุ่งใหญ่ อ.นาบอน …

MR1 ช่วงที่ 11 ชุมพร-สุราษฎร์ธานี (ระยะทางประมาณ 131 กิโลเมตร)

อัพเดตวันที่  21/07/2566 MR1 เชียงราย-นราธิวาส ช่วงที่ 11 ชุมพร-สุราษฎร์ธานี (ระยะทาง 131 กม.) ความสำคัญของเส้นทางเป็นเส้นทางต่อเนื่องจากช่วงชะอำ-ชุมพร ทำหน้าที่เชื่อมโยงการจราจรจากพื้นที่ตอนบนของประเทศสู่ภาคใต้ตอนล่าง และเชื่อมโยงภายในพื้นที่ภาคใต้ตอนล่างและตอนบน โดยเฉพาะเป็นเส้นทางที่เชื่อมโยงระหว่าง 2 จังหวัด ในพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้ (Southern Economic Corridor: SEC) คือ จังหวัดชุมพร และสุราษฎร์ธานี รวมทั้งเป็นส่วนของเส้นทางที่จะเชื่อมต่อไปถึงประตูการค้าระหว่างประเทศที่ชายแดนไทย-มาเลเซีย โดยเส้นทางช่วงนี้จะช่วยเพิ่มความคล่องตัวในการคมนาคมขนส่งและแบ่งเบาการจราจรบนทางหลวงหมายเลข 41 รูปแบบการพัฒนาพัฒนาเป็นมอเตอร์เวย์ร่วมกับทางรถไฟความเร็วสูง ทั้งนี้ เสนอให้โครงการรถไฟความเร็วสูงสายใต้ปรับแนวเส้นทางและการออกแบบเพื่อให้บูรณาการการใช้เขตทางร่วมกับมอเตอร์เวย์เช่นเดียวกับช่วงชะอำ-ชุมพร รายละเอียดแนวเส้นทาง จุดเริ่มต้นโครงการ : อ.หลังสวน จ.ชุมพรจุดสิ้นสุดโครงการ :  อ.เคียนซา จ.สุราษฎร์ธานีระยะทางรวมประมาณ 131 กิโลเมตรแนวเส้นทางผ่านพื้นที่ 2 จังหวัด 7 อำเภอ ได้แก   –  จ.ชุมพร 2 อำเภอ : อ.หลังสวน และ อ.ละแม   –  จ.สุราษฎร์ธานี 5 …

MR1 ช่วงที่ 10 ชุมพร-ชะอำ (ระยะทางประมาณ 341 กิโลเมตร)

อัพเดตวันที่  21/07/2566 MR1 เชียงราย-นราธิวาส ช่วงที่ 10 ชะอำ-ชุมพร (ระยะทาง 337 กม.) ความสำคัญของเส้นทางเป็นเส้นทางเชื่อมโยงการเดินทางจากภาคกลางสู่ภาคใต้ และเป็นทางเลือกในการเดินทางเพิ่มเติมจากทางหลวงหมายเลข 4 หรือถนนเพชรเกษม นอกจากนี้ เส้นทางนี้จะเป็นส่วนของเส้นทางที่เชื่อมต่อไปยังพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคใต้ (Southern Economic Corridor: SEC) โดยที่บริเวณจังหวัดชุมพรเส้นทางจะตัดกับเส้นทาง MR8 หรือ M83 ชุมพร-ระนอง ซี่งเป็นเส้นทาง Land Bridge เชื่อมโยงพื้นที่ฝั่งทะเลอันดามันและอ่าวไทยในอนาคต รูปแบบการพัฒนาพัฒนาเป็นมอเตอร์เวย์ต่อจากช่วงนครปฐม-ชะอำ เป็นการเปิดพื้นที่ใหม่เพื่อลดผลกระทบต่อชุมชน และมีการเสนอให้โครงการรถไฟความเร็วสูงสายใต้ หลังจากสถานีหัวหินเป็นต้นไปปรับแนวเส้นทางและการออกแบบเพื่อให้บูรณาการการใช้เขตทางร่วมกับมอเตอร์เวย์ รายละเอียดแนวเส้นทางจุดเริ่มต้นโครงการ : อ.ท่ายาง จ.เพชรบุรีจุดสิ้นสุดโครงการ :  อ.หลังสวน จ.ชุมพรระยะทางรวมประมาณ 337 กิโลเมตรแนวเส้นทางผ่านพื้นที่ 3 จังหวัด 16 อำเภอ ได้แก   –  จ.เพชรบุรี 2 อำเภอ : อ.ท่ายาง และ อ.ชะอำ  …

MR1 ช่วงที่ 9 นครปฐม-ชะอำ (ระยะทางประมาณ 144 กิโลเมตร)

อัพเดตวันที่  21/07/2566 MR1 เชียงราย-นราธิวาส ช่วงที่ 9 นครปฐม-ชะอำ (ระยะทาง 120 กม.) ความสำคัญของเส้นทางเส้นทางนี้จะเชื่อมการเดินทางระหว่างกรุงเทพมหานครและปริมณฑล-ภาคกลาง-ภาคใต้ เพื่อแยกการจราจรระหว่างเมืองและการจราจรในพื้นที่ บรรเทาปัญหาการจราจรบนทางหลวงหมายเลข 4 ที่เป็นทางหลวงสายเดียวที่เชื่อมโยงการจราจรจากกรุงเทพมหานครและปริมณฑล-ภาคกลาง-ภาคใต้ รูปแบบการพัฒนาพัฒนาเป็นทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง โดยในช่วงนครปฐม-ปากท่อ ใช้แนวตามการออกแบบของโครงการทางหลวงพิเศษระหว่างเมืองนครปฐม-ปากท่อ และมีการปรับแนวเส้นทางจากการออกแบบของโครงการทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง สายนครปฐม-ชะอำ ในช่วงปากท่อ-ชะอำ เพื่อหลีกเลี่ยงผลกระทบต่อพื้นที่ของชุมชน  รายละเอียดแนวเส้นทาง  จุดเริ่มต้นโครงการ : อ.นครชัยศรี จ.นครปฐมจุดสิ้นสุดโครงการ :  อ.ท่ายาง จ.เพชรบุรีระยะทางรวมประมาณ 140 กิโลเมตรแนวเส้นทางผ่านพื้นที่ 3 จังหวัด 12 อำเภอ ได้แก   –  จ.นครปฐม 3 อำเภอ : อ.นครชัยศรี อ.เมืองนครปฐม และ อ.สามพราน   –  จ.ราชบุรี 5 อำเภอ : อ.บางแพ อ.ดำเนินสะดวก อ.เมืองราชบุรี อ.วัดเพลง และ …

MR1 ช่วงที่ 7 สุพรรณบุรี-นครสวรรค์ (ระยะทางประมาณ 144 กิโลเมตร)

อัพเดตวันที่  21/07/2566 MR1 เชียงราย-นราธิวาส ช่วงที่ 7 สุพรรณบุรี-นครสวรรค์ (ระยะทาง 129 กม.) ความสำคัญของเส้นทางเป็นทางหลวงพิเศษระหว่างเมืองที่เชื่องโยงการเดินทางจากกรุงเทพมหานครปริมณฑลไปยังภาคกลางตอนบนและภาคเหนือ ช่วยลดความหนาแน่นของปริมาณจราจรบนทางหลวงหมายเลข 1 และหมายเลข 32 รูปแบบการพัฒนาแนวเส้นทางพัฒนาเป็นมอเตอร์เวย์ร่วมกับรถไฟสายใหม่จนถึง อ.พยุหะคีรี จ.นครสวรรค์ หลังจากนั้นรถไฟจะแยกออกจากมอเตอร์เวย์เพื่อไปเชื่อมต่อแนวรถไฟปัจจุบันและรถไฟความเร็วสูงในอนาคต รายละเอียดแนวเส้นทาง  จุดเริ่มต้นโครงการ : อ.เมืองสุพรรณบุรี จ.สุพรรณบุรีจุดสิ้นสุดโครงการ :  อ.เมืองนครสวรรค์ จ.นครสวรรค์ระยะทางรวมประมาณ 129 กิโลเมตรแนวเส้นทางผ่านพื้นที่ 5 จังหวัด 13 อำเภอ ได้แก่   –  จ.สุพรรณบุรี 1 อำเภอ : อ.เมืองสุพรรณบุรี   –  จ.อ่างทอง 5 อำเภอ : อ.แสวงหา อ.โพธิ์ทอง อ.ศรีประจันต์ อ.สามโก้และ อ.วิเศษชัยชาญ   –  จ.สิงห์บุรี 2 อำเภอ : อ.บางระจัน …

MR1 ช่วงที่ 6 นครสวรรค์-พิษณุโลก (ระยะทางประมาณ 131 กิโลเมตร)

อัพเดตวันที่  21/07/2566 MR1 เชียงราย-นราธิวาส ช่วงที่ 6 นครสวรรค์-พิษณุโลก (ระยะทาง 144 กม.) ความสำคัญของเส้นทางเป็นเส้นทางที่เชื่อมโยงเมืองหลักระหว่าง พิษณุโลก และ นครสวรรค์ เพิ่มเติมจากทางหลวงหมายเลข 117 เป็นเส้นทางที่ต่อเนื่องจากทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง ช่วงพิษณุโลก-เชียงใหม่ บริเวณจังหวัดนครสวรรค์ จะเป็นจุดเชื่อต่อโครงข่ายกับเส้นทาง MR5 (นครสวรรค์-อุบลราชธานี) ในแนวตะวันออก-ตะวันตก สามารถเชื่อมต่อไปยังจังหวัดนครราชสีมาและอุบลราชธานีและด่านชายแดนไทยสปป.ลาว ที่ด่านช่องเม็ก และสะพานมิตรภาพไทย-ลาว แห่งที่ 6 (นาตาล-ละครเพ็ง) ที่มีแผนจะก่อสร้างในอนาคต รูปแบบการพัฒนาส่วนใหญ่พัฒนาเป็นมอเตอร์เวย์แยกออกจากระบบราง และมีบางช่วงที่ใช้เขตทางร่วมกับรถไฟสายใหม่คือ บริเวณ อ.เมืองนครสวรรค์ จ.นครสวรรค์ รายละเอียดแนวเส้นทาง จุดเริ่มต้นโครงการ : อ.เมืองนครสวรรค์ จ.นครสวรรค์จุดสิ้นสุดโครงการ : อ.เมืองพิษณุโลก จ.พิษณุโลกระยะทางรวมประมาณ 144 กิโลเมตรแนวเส้นทางผ่านพื้นที่ 3 จังหวัด 11 อำเภอ ได้แก่   –  จ.นครสวรรค์ 3 อำเภอ : อ.ชุมแสง …